1. อภิพงศ์ ปิงยศ, จักรกฤช เตโช, พัชรณัฐ ดาวดึงษ์, วัชรี เลขะวิพัฒน์, ณัฐพงศ์ พยัฆคิน และอนุวัฒน์ จรัสรัตนไพบูลย์. การศึกษาความเป็นไปได้ในการควบคุมระบบการให้น้ำแบบอัตโนมัติโดยใช้อุปกรณ์อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของมะม่วงวงบ่อในฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้–แพร่ เฉลิมพระเกียรติ. 2560. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
2. คฤเดช ป้อกันทัง, วรัญญา ศรีโหม้ และอภิพงศ์ ปิงยศ.(2561). การพัฒนาสื่อทัศนียภาพแบบผสมผสานเพื่อแสดงเส้นทางศึกษาธรรมชาติ วนอุทยานแพะเมืองผี จังหวัดแพร่. ใน งานประชุมวิชาการ The 6th ASEAN Undergraduate Conference in Computing 2018 (AUCC 2018). (หน้า 2648-2653). กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
3. พัชรณัฐ ดาวดึงษ์, อภิพงศ์ ปิงยศ, วรรณา มังกิตะ และคณะ. (2561). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสมุนไพรเพื่อการเสริมศักยภาพกลุ่มผู้ปลูกสมุนไพรเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนจังหวัดแพร่. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “พะเยาวิจัย ครั้งที่ 7”, (หน้า 1223-1233). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.
4. ชวรัชช์ ชินอริยะฤทธิ์, อรพรรณ เพิ่มสุข และอภิพงศ์ ปิงยศ. (2560). การพัฒนาเว็บไซต์และการประยุกต์ใช้คิวอาร์โค้ดเพื่อการศึกษาข้อมูลพรรณไม้ในโครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนของโรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์ จังหวัดแพร่. ใน งานประชุมวิชาการ The 5th ASEAN Undergraduate Conference in Computing 2017 (AUCC 2017). (หน้า 260-263).พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
5. วรรณา มังกิตะ, ธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ, ลักขณา พันธุ์แสนศรี, อารีกมล ต.ไชยสุวรรณ, พัชรณัฐ ดาวดึงษ์ และ อภิพงศ์ ปิงยศ. 2558. โครงการเสริมศักยภาพกระบวนการผลิตสมุนไพรพื้นบ้านในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนจังหวัดแพร่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์จังหวัดแพร่.
|